วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

SWIFT CODE ธนาคารต่างๆในประเทศไทย

SWIFT CODE ธนาคารต่างๆในประเทศไทย


Swift Code คืออะไร
 
Swift Code คืออะไร หากคุณเลือกวิธีการถอนเงิน จากเว็บรับเดิมพัน เป็นการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร คุณจะต้องเห็นช่องให้กรอกรายละเอียดของบัญชีธนาคารปลายทาง และหนึ่งในนั้นก็จะมีช่องให้คุณกรอก รหัส Swift Code แล้วเราจะใส่อะไรลงในช่อง Swift Code ละ
ก่อนอื่นขออธิบายเรื่องของ SwiftCode ก่อนดีกว่า ว่ามันคืออะไร
Swift Code เป็นมาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) ว่าด้วยรหัสที่ใช้สำหรับระบุธนาคารและสาขาของธนาคารทั่วโลก (Bank Identifier Code) เพื่อใช้ในการโอนเงินระหว่างธนาคาร โดยเฉพาะระหว่างประเทศ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว รหัสของมาตรฐานนี้มักเรียกกันว่า BIC code หรือ SWIFT code เนื่องจากองค์กร Society for Worldwide Interbank Financial Telecommunication (SWIFT) จะเป็นผู้รับผิดชอบในการลงทะเบียนรหัส ปัจจุบันมีสถาบันการเงินมากกว่า 8100 แห่งใน 208 ประเทศและดินแดนที่ลงทะเบียนกับ SWIFT
 
ธนาคารกรุงเทพ
Account № / IBAN: Bangkok Bank Public Company Limited (BBL)
Bank Address: 333 Silom Road Bangrak, Bangkok 10500 Tel: 2231-4333 Fax: 2236-8281-2

SWIFT : BKKBTHBK (
 
ธนาคารไทยธนาคาร
Account № / IBAN: BankThai Public Company Limited
Bank Address: 44 North Sathorn Rd Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Tel: 2638-8000 Fax: 2633-9044

SWIFT : UBOBTHBK (formerly The Union Bank of Bangkok licence) (
www.bankthai.co.th
)
 
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
Account № / IBAN: Bank of Ayudhya Public Company Limited (BAY)
Bank Address: 222 Rama 3 Road, Bang Phongphang Yannawa, Bangkok 10120 Tel: 2296-2001 , 2683-1000 Fax: 2683-1304

SWIFT : AYUDTHBK (
www.krungsri.com
)
 
ธนาคารกสิกรไทย
Account № / IBAN: KASIKORNBANK Public Company Limited (KBANK)
Bank Address: 1 Soi Kasikornthai Ratburana Rd, Bangkok 10140 Tel: (66 2) 222-0000 Fax: (66 2) 470- 2749

SWIFT : KASITHBK (
www.kasikornbank.com
)
 
ธนาคารกรุงไทย
Account № / IBAN: Krung Thai Bank Public Company Limited (KTB)
Bank Address: 35 Sukhumvit Road, Klong Toey Nua Wattana, Bangkok 10110 Tel: 2255-2222 Fax: 2255-9391-6

SWIFT : KRTHTHBK (
www.ktb.co.th
)
 
ธนาคารนครหลวงไทย
Account № / IBAN: Siam City Bank Public Company Limited (SCIB)
Bank Address: 1101 New Petchburi Road Makkasan, Rajthewi, Bangkok 10400 Tel: 2253-0200

SWIFT : SITYTHBK (
www.scib.co.th
)
 
ธนาคารไทยพาณิชย์
Account № / IBAN: Siam Commercial Bank Public Company Limited (SCB)
Bank Address: 9 Ratchadaphisek Road Ladyao, Jatujak, Bangkok 10900 Tel: 2544-1111 Fax: 2544-5000

SWIFT : SICOTHBK (
www.scb.co.th
)
 
ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์
Account № / IBAN: Standard Chartered Bank (Thailand)
Bank Address: (formerly Nakornthon) 90 North Sathorn Road Bangkok 10500 Tel: 2724-4000

SWIFT: SCBLTHBX (
www.standardchartered.co.th
)
 
ธนาคารทหารไทย
Account № / IBAN: TMB Bank Public Company Limited
Bank Address: (formerly Thai Military Bank) 3000 Phaholyothin Rd Chatuchak, Bangkok 10900 Tel: (66 2) 299-1111 273-7020 Fax: (66 2) 273-7118

SWIFT : TMBKTHB (
www.tmbbank.com
)
 
ธนาคารยูโอบี
Account № / IBAN: Union Overseas Bank (Thai) [UOB Thailand]
Bank Address: 191 South Sathorn Road Yannawa, Bangkok 10120 Tel: 234c 3000 Fax: 2287-2973-4

SWIFT : BKASTHBK (
www.uob.co.th)

 
 
 
CODE BANK
และถ้าเป็นรหัสสาขาก็จะเป็นเลข 3 ตัวเลขข้างหน้าบัญชีของเรา
001 ธนาคารแห่งประเทศไทย
Bank of Thailand (BOT)
002 ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)
Bangkok Bank Public Company Limited (BBL)
004 ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน)
Kasikornbank Public Company Limited (KBANK)
005 ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร เอ็น.วี.
ABN-AMRO Bank N.V. Bangkok Branch(AMRO)
006 ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)
Krung Thai Bank Public Company Limited (KTB)
008 ธนาคารเจพี มอร์แกน เชส สาขากรุงเทพฯ
JP Morgan Chase Bank, N.A Bangkok Branch (JPMC)
010 ธนาคารแห่งโตเกียว-มิตซูบิชิ จก. กรุงเทพฯ
The Bank of Tokyo-Mitsubishi Ltd. Bangkok Branch (BTMU)
011 ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน)
TMB Bank Public Company Limited (TMB)
014 ธนาคารไทยพาณิชย์จํากัด (มหาชน)
Siam Commercial Bank Public Company Limited (SCB)
015 ธนาคารนครหลวงไทย จํากัด (มหาชน)
Siam City Bank Public Company Limited (SCIB)
017 ธนาคารซิตี้แบงค์
Citibank N.A. (CITI)
018 ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอรปอเรชั่น
Sumitomo Mitsui Banking Corporation (SMBC)
 
13 020 ธนาคารสแตนดาร์ด ชารเตอรด (ไทย) จํากัด
Standard Chartered Bank (Thai) Public Company Limited (SCBT)
022 ธนาคารไทยธนาคาร จํากัด (มหาชน)
BANKTHAI Public Company Limited (UOBT)
15 024 ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส (ไทย) จํากัด (มหาชน) United Overseas Bank (Thai) PCL (UOBT)

 

025 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน)
Bank of Ayudhya Public Company Limited (BAY)
17 026 ธนาคารเมกะ สากลพาณิชย์ จํากัด (มหาชน)
Mega International Commercial Bank PCL (MEGA ICBC)

 

027 ธนาคารแห่งอเมริกา เนชั่นแนล แอสโซซิเอชั่น
Bank of America National Association (BA)
19 028 ธนาคารคาลิยง
Calyon (CALYON)

 

030 ธนาคารออมสิน
Government Saving Bank (GOV)
 
21 031 ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้จํากัด
Hong Kong & Shanghai Corporation Limited (HSBC)
 
 
22 032 ธนาคารดอยซ์แบงก์
Deutsche Bank Aktiengesellschaft (DEUTSCHE)

 

033 ธนาคารอาคารสงเคราะห์
Government Housing Bank (GHB)
 
24 034 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives (AGRI)

 

039 ธนาคารมิซูโฮ คอร์เปอเรท สาขากรุงเทพฯ
Mizuho Corporate Bank Limited (MHCB)
 
26 065 ธนาคารธนชาต จํากัด (มหาชน)
Thanachart Bank Public Company Limited (TBANK)

 

066 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
Islamic Bank of Thailand (ISBT)
 
28 067 ธนาคารทิสโก้ จํากัด (มหาชน)
Tisco Bank Public Company Limited (TISCO)

 

068 ธนาคารเอไอจี เพื่อรายย่อย จํากัด (มหาชน)
AIG Retail Bank Public Company Limited (AIG)

 

069 ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน)
Kiatnakin Bank Public Company Limited (KK)
 
070 ธนาคารสินเอเชีย จํากัด (มหาชน)
ACL Bank Public Company Limited (ACL)
 
 
 
 
 
ตัวอย่างการโอนเงินระหว่างประเทศ

  1. SWIFT code ของธนาคารกรุงเทพคืออะไรและควรใช้เมื่อไร
  2. การโอนเงินจากต่างประเทศมาที่สาขาธนาคารกรุงเทพในประเทศไทย ต้องแจ้งข้อมูลอะไรให้ธนาคารที่ทำธุรกรรมโอนเงินออก
  3. วิธีใดที่เร็วที่สุดสำหรับการโอนเงินจากต่างประเทศ
  4. หากต้องการสอบถามว่า เงินที่โอนมาจากต่างประเทศ เข้าบัญชีแล้วหรือยัง
  5. หมายเลข IBAN คืออะไร
  6. สามารถโอนเงินระหว่างประเทศทางอินเทอร์เน็ตได้หรือไม่
  7. มีค่าธรรมเนียมการโอนเงินจากต่างประเทศมาที่ประเทศไทย เป็นจำนวนเท่าใด
  8. การโอนเงินไปต่างประเทศ หรือ โอนจากต่างประเทศมาที่เมืองไทย จำเป็นต้องมีบัญชีของธนาคารกรุงเทพหรือไม่





1. SWIFT code ของธนาคารกรุงเทพคืออะไรและควรใช้เมื่อไร

SWIFT code คือ BKKBTHBK นี่เป็นรหัสเดียวที่ใช้อ้างอิงสำหรับธนาคารกรุงเทพทุกสาขาในประเทศไทย ท่านสามารถแจ้งรหัสนี้กับทางธนาคารที่ท่านสั่งโอนเงิน เพื่อประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการค้นหา

2. การโอนเงินจากต่างประเทศมาที่ สาขาธนาคารกรุงเทพ ในประเทศไทย ต้องแจ้งข้อมูลอะไรให้ธนาคารที่ทำธุรกรรมโอนเงินออก
ข้อมูลที่ท่านควรแจ้งแก่ธนาคารในต่างประเทศ เพื่อจะได้รับเงินโอนได้สะดวกและรวดเร็ว ได้แก่
- ชื่อบัญชี เลขที่บัญชีของผู้รับเงินที่เปิดกับธนาคารกรุงเทพ
- สกุลเงินและจำนวนเงินโอน
- SWIFT Code ของธนาคารกรุงเทพ: BKKBTHBK

3. วิธีใดที่เร็วที่สุดสำหรับการโอนเงินจากต่างประเทศ
การสั่งโอนด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือ SWIFT เป็นวิธีที่เร็วที่สุด ในการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงเทพของท่านโดยตรง

4. หากต้องการสอบถามว่า เงินที่โอนเข้ามา เข้าบัญชีแล้วหรือยัง
ท่านสามารถสอบถามได้จากตัวแทนฝ่ายบริการลูกค้าของธนาคารได้ ผ่านบริการบัวหลวงโฟน โทรศัพท์หมายเลข 1333 หรือ (66) 0-2645-5555

5. หมายเลข IBAN คืออะไร IBAN ย่อมาจากคำว่า International Bank Account Number คือ เลขที่บัญชีของผู้รับเงินตามมาตรฐานการกำหนดเลขที่บัญชีระหว่างประเทศในภูมิภาคยุโรป ซึ่งธนาคารต่างๆในประเทศยุโรปใช้หมายเลขนี้สำหรับการโอนเงินระหว่างประเทศ แต่ธนาคารกรุงเทพไม่ใช้หมายเลขนี้ในการรับโอนเงินจากต่างประเทศหรือโอนเงินไปต่างประเทศ
6. สามารถโอนเงินระหว่างประเทศทางอินเทอร์เน็ตได้หรือไม่
ได้ ท่านสามารถโอนเงินจากบัญชีเงินฝากสะสมทรัพย์ หรือบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของท่านเอง ไปยังบัญชีของผู้รับในต่างประเทศได้ ด้วยบริการ บัวหลวงไอแบงก์กิ้ง คลิก
ที่นี่ เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม
7. ธนาคารคิดค่าธรรมเนียมการโอนเงินจากต่างประเทศมาที่ประเทศไทยเท่าใด
ธนาคารคิดค่าธรรมเนียมในการรับเงินโอนจากต่างประเทศอัตรา 0.25 % ของจำนวนเงินที่โอน ต่ำสุด 200 บาท สูงสุด 500 บาท


8. การโอนเงินไปต่างประเทศ หรือ โอนจากต่างประเทศมาที่เมืองไทย จำเป็นต้องมีบัญชีของธนาคารกรุงเทพหรือไม่ ท่านไม่จำเป็นต้องมีบัญชีของธนาคารกรุงเทพในการโอนเงินเข้าหรือออก แต่ตรวจดูให้แน่ใจว่า ท่านระบุชื่อ ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ที่ถูกต้องลงไปในคำสั่งจ่ายเงิน เมื่อโอนเงินไปต่างประเทศ และหากท่านรับเงินที่โอนมาจากต่างประเทศที่สาขา ท่านจะต้องนำบัตรประชาชนมาแสดงด้วย
 
 
 
 
 
 
 









กฏหมายขับรถใน UK

กฏหมายขับรถใน UK


 

 















ที่มา   ::      คู่มืออยู่ยังไงในอังกฤษ         บทที่ 11 เบ็ดเตล็ด






เงินบำนาญ (The Basic State Pension In The Uk)

เงินบำนาญ  (The Basic State Pension In The Uk)
 
 
 
 
 
 
ดูรายละเอียดในเว็บไซต์นี้ค่ะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
What Is The Basic State Pension In The Uk?
 
The basic state retirement pension for a single person is 95.25 a week and 152.30 for a couple in 2009/10. uk.ask.com
 
 
 
 
UK Basic State Pension for a married couple?
 
Not sure about Class 3 contribution entitlements, but the employed and self-employed men get their pension at 65. Where a wife is concerned, it depends on her age. If she is under 60, the husband gets a dependency allowance for her. As soon as she is 60, she gets the married women's rate herself. If she is 60 before he is 65, she gets the married women's rate as soon as he is 65. The married women's rate is equal in amount to the dependancy allowance. In 2010, women's minimum age for pensions starts going up in stages, until eventually it will apply to those of 65. I don't know if that affects the dependency allowance. Source(s): Retired tax uk.answers.yahoo.com
 
 
 
 
 
 
 
The basic state pension increased by 5% (4.80) this April. It is expected to rise by 2.5 % (2.40) next year which is half the rise seen in 2010 uk.ask.com
 
 
 
 
 
 How Much Is The Current State Pension In The UK?
 

The basic UK  
state pension   is £90.70 a week for a single person and £145.05 a week for a couple however it can be greatly affected by individual circumstance so I recommend you speak to an advisor or visit the official website for more info. That site features a calculator that can give you more accurate assessments.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ที่มา  ::     https://sites.google.com/site/prapasara/f3-2
 



เกี่ยวกับการทำพินัยกรรมใน UK

เกี่ยวกับการทำพินัยกรรมใน  UK 
 
 
 
 
 
 
 
เหตุที่ต้องทำพินัยกรรม  (Wills)
 
 
ผู้มีสิทธิได้รับมรดกถ้าไม่มีพินัยกรรม
 
 
 
การทำพินัยกรรม
 
 
 
ใบมอบอำนาจระยะยาว
 
 
 
คำสั่งถึงแพทย์
 
 
 
วิธีเลี่ยงหรือลดภาษีมรดกhttp://prinkotakoon.blogspot.co.uk/2013/07/blog-post_2377.html
 
 
 
กองทุนหรือทรัสต์คืออะไรhttp://prinkotakoon.blogspot.co.uk/2013/07/blog-post_53.html
 
 
 
หน้าที่ของผู้จัดการมรดก
 
 
 
การสืบค้นพินัยกรรมของผู้เสียชีวิตhttp://prinkotakoon.blogspot.co.uk/2013/07/blog-post_479.html
 
 
 
การขอแบ่งมรดก
 
 
 
 
 
 
 ที่มา  ::   https://sites.google.com/site/prapasara/
 
 
 
 
 
 

เมื่อประสบปัญหาต่างๆ ในอังกฤษ (UK)

เมื่อประสบปัญหาต่างๆ ในอังกฤษ (UK)

 

 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

กรณีเกิดเหตุด่วนเหตุร้าย



กรณีเกิดเหตุด่วน เหตุร้าย เกิดอัคคีภัย ต้องการแจ้งตำรวจเพื่อขอความช่วยเหลือ หรือรถพยาบาล สามารถโทรศัพท์ติดต่อ หมายเลขฉุึกเฉิน 999

หากต้องการแจ้งสถานเอกอัครราชทูตฯ สามารถติดต่อที่หมายเลข 0207 225 5500 หรือ 0207 589 2944
กรณีฉุกเฉิน ในวันหยุดราชการ สามารถติดต่อ 07918 651 720
 
 

การขอหนังสือสำคัญประจำตัว (Certificate of Identity - C.I.)


หนังสือสำคัญประจำตัว (Certificate of Identity-C.I.) เป็นเอกสารเดินทางชั่วคราว ที่ออกให้แก่ผู้ที่ทำหนังสือเดินทางสูญหาย หรือหนังสือเดินทางหมดอายุ และจะต้องเดินทางกลับประเทศไทยโดยเร่งด่วน สามารถใช้เดินทางกลับประเทศไทยได้เท่านั้น มีอายุการใช้งาน 10 วันนับจากวันที่ออกให้ สถานเอกอัครราชทูตฯ จึงขอหลักฐานการจองตั๋วเครื่องบินประกอบเป็นหลักฐานด้วย

การออกหนังสือสำคัญประจำตัว สถานเอกอัครราชทูตฯ ใช้เวลาดำเนินการประมาณ 5 วันทำการ สามารถเดินทางมาติดต่อได้ทุกวันทำการ เวลา 9.30 – 12.30 น. โดยไม่ต้องนัดหมายล่วงหน้า

1. หลักฐานประกอบ ในกรณีหนังสือเดินทางสูญหาย

1. ใบแจ้งความ
2. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มเดิม/ สำเนาบัตรประชาชน หรือ สำเนาทะเบียนบ้าน
3. รูปถ่ายขนาดเดียวกับที่ ใช้ในหนังสือเดินทางจำนวน 3 รูป
4. แบบฟอร์มคำร้องขอหนังสือเดินทางชั่วคราว (แบบฟอร์มที่ 4) จำนวน 2 ชุด
5. บันทึกสอบสวน (แบบฟอร์มที่ 2) จำนวน 2 ชุด
6. บันทึกประกอบคำร้องกรณีหนังสือเดินทางสูญหาย (แบบฟอร์มที่ 3) จำนวน 2 ชุด
7. ค่าธรรมเนียม 10 ปอนด์ (เงินสด)


2. หลักฐานประกอบ ในกรณีหนังสือเดินทางหมดอายุ

1. สำเนาหนังสือเดินทางเล่มเดิม/ สำเนาบัตรประชาชน หรือ สำเนาทะเบียนบ้าน
2. รูปถ่ายขนาดเดียวกับที่ใช้ในหนังสือเดินทางจำนวน 3 รูป
3. แบบฟอร์มคำร้องขอหนังสือเดินทางชั่วคราว (แบบฟอร์มที่ 4) จำนวน 2 ชุด
4. บันทึกสอบสวน (แบบฟอร์มที่ 2) จำนวน 2 ชุด
5. ค่าธรรมเนียม 10 ปอนด์ (เงินสด)
 
 
 

คำปรึกษาด้านกฎหมายเกี่ยวกับสหราชอาณาจักร


การอาศัยอยู่ในต่างแดน ท่านควรมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายต่างๆ ของท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับตัวท่าน หากท่านมีข้อสงสัย หรือต้องการปรึกษาข้อกฎหมาย ท่านสามารถติดต่อ Citizen Advice Bureau ที่ตั้งอยู่ในเขตของท่าน โดย Citizen Advice Bureau จะมีเจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำในเรื่องต่างๆ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ อาจต้องทำการนัดหมายก่อน
นอกจากนี้ ท่านยังสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายของสหราชอาณาจักรฯ ในเบื้องต้น จากเว็บไซต์ www.citizensadvice.org.uk หรือ www.adviceguide.org.uk ซึ่งมีข้อมูลค่อนข้างครอบคลุม อาทิ กฎหมายครอบครัว กฎหมายเกี่ยวกัีบภาษี การได้รับสวัสดิการของรัฐ กฎหมายเข้าเมือง และสิทธิต่างๆ ที่บุคคลพึงจะได้รับ
 
 
 

กรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ


ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่มักเกิดขึ้นในสหราชอาณาจักรฯ ได้แก่
  • น้ำท่วมฉับพลัน (มักเกิดบริเวณตอนเหนือของเกาะอังกฤษ อาทิ เขต Yorkshire, Hull, Sheffield, Cambria)
  • คลื่นความร้อน (Heat wave) อุณหภูมิสูงจัดทั่วประเทศในช่วงฤดูร้อน
  • หิมะตกอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนานและอุณหภูมิติดลบ ซึ่งเกิดขึ้นทั่วประเทศ

กรมอุตุนิยมวิทยา ของสหราชอาณาจักรฯ มีหน้าที่โดยตรงในการประกาศเตือนประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ หน่วยงานให้ข้อมูลและประชาสัมพันธ์เตือนภัยพิบัติทางธรรมชาติ ได้แก่

  • กรมอุตุนิยมวิทยา www.metoffice.gov.uk
  • สอบถามสถานการณ์น้ำท่วม Floodline: 0845 9881188 หรือ โทรรายงานน้ำท่วม 0300 200 0100
  • หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน 999


ในกรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ควรติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดทางโทรทัศน์ วิทยุ เว็บไซต์ และประเมินสถานการณ์ความปลอดภัยของตัวท่านเอง ตลอดจนตรวจสอบเอกสารประจำตัวและเอกสารสำคัญ หากมีความจำเป็นต้องอพยพควรแจ้งให้ญาติหรือบุคคลใกล้ชิดทราบ และติดต่อสถานเอกอัครราชทูตฯ
 
 
 

กรณีเกิดเหตุการณ์วุ่นวาย หรือสถานการณ์ไม่ปกติ


ข้อแนะนำสำหรับคนไทยเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน

1. ในสภาวะปกติ
1.1 กรุณาสำรวจว่าตนเองและบุคคลในครอบครัวมีเอกสารเดินทางครบถ้วน พร้อมเดินทางหากจำเป็น
1.2 กรุณาแจ้งที่อยู่และหมายเลขติดต่อให้สถานเอกอัครราชทูตฯ ทราบ
1.3 มีเบอร์โทรศัพท์และที่อยู่สถานเอกอัครราชทูตฯ ติดตัวตลอดเวลา
1.4 พยายามติดต่อเพื่อนคนไทยสม่ำเสมอ

2. ในสภาวะที่มีความไม่ปลอดภัย/เหตุการณ์ฉุกเฉิน
2.1 เตรียมเอกสารเดินทางให้พร้อมเดินทางหากจำเป็น
2.2 ติดต่อสถานเอกอัครราชทูตฯ เพื่อรับข้อแนะนำในการปฏิบัติตัว
2.3 ติดตามข่าวสารทางโทรทัศน์ วิทยุ และกลุ่มเพื่อนคนไทย ให้เพื่อนรู้ว่า เราอยู่ที่ใด ไปที่ไหน
2.4 สำรองอาหารเครื่องดื่ม เชื้อเพลิง ที่จำเป็น
2.5 หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีปัญหา หลีกเลี่ยงการเดินทางในยามวิกาล
2.6 ประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับตน บุคคลที่ไม่มีความจำเป็นต้องอยู่ ควรเดินทางออกนอกพื้นที่เสี่ยง


3. เมื่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน
3.1 ติดต่อเพื่อขอคำแนะนำจากสถานเอกอัครราชทูตฯ หมายเลข 0207 589 2944 ต่อ 5500 หรือเปิดดูคำ
แนะนำจากเว็บไซต์สถานเอกอัครราชทูตฯ
3.2 อยู่แต่ในสถานที่พักอาศัยและให้สามารถติดต่อได้ตลอดเวลา
3.3 เดินทางออกนอกพื้นที่เกิดเหตุ
3.4 รวมจุดนัดหมายที่สถานเอกอัครราชทูตฯ ณ กรุงลอนดอน หรือวัดไทยที่ใกล้ที่สุด
3.5 ติดตามประกาศจากสถานเอกอัครราชทูตฯ อย่างต่อเนื่อง
 
 
 

กรณีถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุม

 
♦ เจ้าหน้าที่ตำรวจมีสิทธิจับและสอบสวนบุคคลที่เห็นว่ามีพฤติกรรมน่าสงสัย (ไม่จำเป็นต้องมีหมายจับ) หากท่านถูกตำรวจจับควรให้ความร่วมมือและไม่ควรแสดงอาการขัดขืนหรือพูดจาไม่สุภาพ
 
♦ หากไม่มั่นใจว่าบุคคลที่จับกุมท่านเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจ ท่านสามารถขอดูบัตรประจำตัวของเจ้าหน้าที่ได้
♦ หากถูกนำไปสถานีตำรวจเพื่อสอบสวน ท่านมีสิทธิใช้โทรศัพท์ได้ 1 ครั้ง เพื่อแจ้งให้บุคคลใกล้ชิดทราบ และท่านมีสิทธิ
ขอให้ตำรวจแจ้งให้สถานเอกอัครราชทูตฯ ทราบ (หากท่านไม่ประสงค์ ตำรวจจะไม่สามารถแจ้งรายละเอียดของท่าน
ต่อสถานเอกอัครราชทูตฯ)
♦ ขั้นตอนการสอบสวนอาจใช้เวลานานหลายชั่วโมง แต่ตำรวจไม่สามารถกักขังท่านได้เกิน 24 ชั่วโมง โดยไม่แจ้งข้อหา
♦ ในการสอบสวน ท่านมีสิทธิร้องขอทนาย (ตำรวจสามารถจัดหาทนายให้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย) และขอให้จัดหาล่ามใน
กรณีที่ท่านไม่มั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ
♦ ในกรณีที่เห็นว่าไม่มีหลักฐานเพียงพอต่อการฟ้องร้อง ตำรวจอาจปล่อยตัวท่าน หรือมีคำสั่ง release on police bail
หมายถึง ปล่อยตัวแต่อาจนัดหมายให้ท่านกลับไปรายงานตัว หรือสอบสวนเพิ่มเติมหากเห็นสมควร
♦ ในกรณีที่ตำรวจเห็นควรดำเนินคดี จะนำคดีขึ้นฟ้องศาล หากเป็นคดีร้ายแรงตำรวจมีสิทธิกักขังผู้ต้องหาในระหว่างรอขึ้น
ศาลได้ (remand custody until trial)
 
 
 
กรณีญาติเสียชีวิตในสหราชอาณาจักรฯ หรือไอร์แลนด์
 

♦ ในกรณีที่คนไทยเสียชีวิตในสหราชอาณาจักรฯ หรือไอร์แลนด์ ญาติสามารถติดต่อสถานเอกอัครราชทูตฯ
เพื่อขอรับมรณบัตรไทย เพื่อนำไปใช้ที่ประเทศไทยได้ (ขั้นตอนและหลักฐานปรากฏในเว็บไซต์นี้ ในหัวข้อ
การขอมรณะบัตร”)
♦ การจัดการศพ ญาติสามารถติดต่อบริษัทเอกชนที่ให้บริการจัดการศพ (funeral service) ไม่ว่าจะเป็นการเผา
หรือการฝัง ซึ่งค่าใช้จ่ายมีความหลากหลาย ขึ้นอยู่กับพิธี รูปแบบการจัดการศพ วัสดุที่เลือกใช้ ฯลฯ
♦ ในกรณีที่ประสงค์จะส่งศพกลับประเทศไทย มีบริษัทเอกชนที่ให้บริการส่งศพกลับภูมิลำเนา โดยจะดูแลตั้งแต่
เรื่องการจัดการเอกสาร การเก็บศพ การจัดส่ง แต่บริการส่งศพดังกล่าวมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง ทั้งนี้ หากผู้เสีย
ชีวิตเป็นนักท่องเที่ยวและมีประกันการเดินทาง ควรติดต่อบริษัทประกัน เนื่องจากกรมธรรม์มักจะครอบคลุมค่าใช้
จ่ายในการส่งศพ
♦ ในกรณีที่คนไทยเสียชีวิต แต่ญาติไม่สามารถเดินทางมาจัดการศพที่สหราชอาณาจักรฯ หรือไอร์แลนด์ได้
สามารถติดต่อกระทรวงการต่างประเทศที่กรุงเทพฯ (กองคุ้มครองและดูแลผลประโยชน์คนไทยในต่างประเทศ
โทร. (+66) 02 575-1047 ถึง 51 เพื่อมอบอำนาจให้สถานเอกอัครราชทูตฯ ดำเนินการแทนได้
 
 
 
 
 
 
 
ที่มา   ::       http://prinkotakoon.blogspot.co.uk/2012/07/uk.html
 
 
 
 




สินค้าโปรโมชั่น

สินค้าโปรโมชั่น
 
 
 
 





วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Life in the UK



Life in the UK
 
 
 
 
 
 
 
คู่มือ อยู่ยังไงในอังกฤษ Handbook
 
 
 
วีซ่าแต่งงานใน UK
 
 
 
วีซ่าคู่ชีวิตใน UK
 
 
 
วีซ่าคู่หมั้นใน UK
 
 
 
วีซ่าท่องเที่ยวใน UK ไม่เกิน 6 เดือน
 
 
 
การขอวีซ่านักศึกษาใน  UK
 
 
 
การขอต่อวีซ่านักศึกษาใน UK
 
 
 
การขออยู่ใน UK ในฐานะเป็นม่าย
 
 
 
การขออยู่ถาวรใน UK  ในฐานะผู้ถูกทำร้ายในครอบครัว
 
 
 
การขออยู่ถาวรใน UK ฐานะที่ได้อยู่นาน  
 
 
 
การขอวีซ่าถาวรในฐานะผู้ทำงานใน UK
 
 
 
การขอคำปรึกษาเรื่องกฎหมายเข้าเมืองใน UK  ได้ที่ไหน
 
 
 
วีซ่าถาวร UK
 
 
 
 
การเข้าถือสัญชาติอังกฤษ
 
 
 
 
การเข้าถือสัญชาติอังกฤษ (1)
 
 
 
 

 

ที่มา   ::        http://prinkotakoon.blogspot.com
  

หมวกสวยๆ ราคากันเองค่ะ


หมวกสวยๆ ราคากันเองค่ะ
 
 
 
 










































 
 หมวกทุกใบราคา  £10  ค่ะ